Naruebet Chantayong 4/1 Thawaranukul school

วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557


ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

ถ้าพูดถึงลักษณะการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้คงจะแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ

กลุ่มแรก คือ กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อ หรือเรียกว่า เครื่องแบรนด์เนม [Brand name] ทั้ง
หน่วยส่งออก
   
   หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยส่งออกเรียกว่าอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล เช่น



 จอภาพ (Monitor)



 เครื่องพิมพ์ (Printer)
หน่วยความจำรอง

  หน่วยความจำรอง ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ยังไม่ต้องการประวลผลหรือข้อมูลที่ต้องการนำมาใช้ต่อภายหลัง เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลจะถูกย้ายจากหน่วยความจำรองมาไว้ที่หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำรองมีหลายประเภท เช่น ฟล็อปปีดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี เป็นต้น

แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถเก็บลงสื่อ (Media) ต่าง ๆ ได้แก่

1. แผ่นดิสก์ (Diskette) เป็นแผ่นแถบแม่เหล็กกรมบางบรรจุอยู่ในตลับพลาสติก สามารถใช้เก็บข้อมูล ลบหรือแก้ไขข้อมูลในแผ่นดิสก์ชนิดนี้ได้อย่างสะดวกทั้้งแฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข ตาราง และแผนภูมิ แต่ไม่เหมาะในการนำมาบันทึกข้อมูลเสียงหรือภาพ เพราะเป็นสื่อที่เก็บข้อมูลได้น้้อย นิยมใช้แผ่นดิสก์เก็บสำรองแฟ้มข้อมูล แล้วพกพาไปใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่องใดก็ได้




2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นแผ่นโลหะกลมเคลือบด้วยแถบแม่เหล็กหลายแผ่นซ้อนกัน สามารถเก็บข้อมูลได้มากว่าแผ่นดิสก์หลายเท่า นิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป แต่ฮาร์ดิสก์มักติดตั้งถาวรอยู่ในเครื่องไม่นิยมพกพา


3. แผ่นซีดี หรือคอมแพ็คดิสก์ (Compact Disk) เป็นแผ่นพาสติกกลมเคลือกด้วยสารสะท้อนแสง เก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ข้อดีคือสามารถพกพาแผ่นซีดีบรรจุข้อมูลไปใช้ที่ใหนก็ได้ สามารถเก็บข้อมูลประเภทภาพและเสียงได้มาก นิยมนำมาบันทึกข้อมูลประเภทสารนุกรม หรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่


หน่วยความจำหลัก

หน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำภายใน ทำหน้าที่เก็บคำสั่งและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อรอให้หน่วยประมวลผลกลางเรียกใช้ประมวลผล และเป็นที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล แบ่งได้เป็น

1. แรม (RAM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลสำหรับการใช้งานทั่วไปหน่วยความจำประเภทนี้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่าที่ยังมีกระแสไฟฟ้าจ่ายวรจร ถ้าขาดกระแสไฟฟ้าข้อมูลจะสูญหายทันที
2. รอม (ROM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บโปรแกรมสำคัญซึ่งได้ถูกบันทึกมาก่อนจากบริษัทผลิต ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลแบบถาวร แม้จะเปิดเครื่องหรือขาดกระแสไฟฟ้า ข้อมูลหรือโปรแกรมก็ไม่สูญหายหรือถูกลบไป
    


หน่วยประมวลผลกลาง    

   
    ตัวประมวลผลกลางหรือ ซีพียู (CPU) เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์" ซึ่งจะทำการประมวลผลข้อมูลจากหน่วยความจำแล้วส่งผลไปยังหน่วยส่งออกต่อไป

ไมโครโปรเซสเซอร์
    



หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ

.หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบให้มีความถูกต้อง


.หน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล
หน่วยรับเข้า    
   หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น
   

  แป้นพิมพ์                       เมาส์             


       แทร็กบอล                           ก้านควบคุม   



      เครื่องตรวจกราด           จอสัมผัส     
                                                      
    

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้แก่

1.หน่วยรับเข้า
2.หน่วยประมวลผลกลาง
3.หน่วยความจำหลัก
4.หน่วยความจำรอง
5.หน่วยส่งออก     





    

วันศุกร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์





เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนำมาประยุกต์ใช้เพื่อ


หลักการเลือกคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการทำงานของหลายองค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอผลงาน รวมทั้งการออกแบบงานต่างๆ ซึ่งลักษณะของงานจะมีความแตกต่างกันออกไป เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้และคุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไป ผู้ใช้ควรศึกษาถึงหลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึงและทำความเข้าใจอย่างละเอียดก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ซึ่งอาจปฎิบัติตาม