วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Topologies )
1. แบบบัส ( BUS Topology ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ
ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีประโยชน์มากมายต่อระบบการทำงานในหลายองค์กร ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์เป็นด้านๆ ได้ดังนี้อ่านเพิ่มเติม>>
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด- เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
- เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN
อ่านเพิ่มเติม>>
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ระบบสื่อสารข้อมูล สำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญ ดังนี้
1. ข่าวสาร (Message) ในทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ข่าวสารเป็น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟแวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ
วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557
หน่วยความจำรอง
หน่วยความจำรอง ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ยังไม่ต้องการประวลผลหรือข้อมูลที่ต้องการนำมาใช้ต่อภายหลัง เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลจะถูกย้ายจากหน่วยความจำรองมาไว้ที่หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำรองมีหลายประเภท เช่น ฟล็อปปีดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี เป็นต้น
แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถเก็บลงสื่อ (Media) ต่าง ๆ ได้แก่
1. แผ่นดิสก์ (Diskette) เป็นแผ่นแถบแม่เหล็กกรมบางบรรจุอยู่ในตลับพลาสติก สามารถใช้เก็บข้อมูล ลบหรือแก้ไขข้อมูลในแผ่นดิสก์ชนิดนี้ได้อย่างสะดวกทั้้งแฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข ตาราง และแผนภูมิ แต่ไม่เหมาะในการนำมาบันทึกข้อมูลเสียงหรือภาพ เพราะเป็นสื่อที่เก็บข้อมูลได้น้้อย นิยมใช้แผ่นดิสก์เก็บสำรองแฟ้มข้อมูล แล้วพกพาไปใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่องใดก็ได้
2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นแผ่นโลหะกลมเคลือบด้วยแถบแม่เหล็กหลายแผ่นซ้อนกัน สามารถเก็บข้อมูลได้มากว่าแผ่นดิสก์หลายเท่า นิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป แต่ฮาร์ดิสก์มักติดตั้งถาวรอยู่ในเครื่องไม่นิยมพกพา
3. แผ่นซีดี หรือคอมแพ็คดิสก์ (Compact Disk) เป็นแผ่นพาสติกกลมเคลือกด้วยสารสะท้อนแสง เก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ข้อดีคือสามารถพกพาแผ่นซีดีบรรจุข้อมูลไปใช้ที่ใหนก็ได้ สามารถเก็บข้อมูลประเภทภาพและเสียงได้มาก นิยมนำมาบันทึกข้อมูลประเภทสารนุกรม หรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
หน่วยความจำรอง ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ยังไม่ต้องการประวลผลหรือข้อมูลที่ต้องการนำมาใช้ต่อภายหลัง เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลจะถูกย้ายจากหน่วยความจำรองมาไว้ที่หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำรองมีหลายประเภท เช่น ฟล็อปปีดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี เป็นต้น
แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถเก็บลงสื่อ (Media) ต่าง ๆ ได้แก่
1. แผ่นดิสก์ (Diskette) เป็นแผ่นแถบแม่เหล็กกรมบางบรรจุอยู่ในตลับพลาสติก สามารถใช้เก็บข้อมูล ลบหรือแก้ไขข้อมูลในแผ่นดิสก์ชนิดนี้ได้อย่างสะดวกทั้้งแฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข ตาราง และแผนภูมิ แต่ไม่เหมาะในการนำมาบันทึกข้อมูลเสียงหรือภาพ เพราะเป็นสื่อที่เก็บข้อมูลได้น้้อย นิยมใช้แผ่นดิสก์เก็บสำรองแฟ้มข้อมูล แล้วพกพาไปใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่องใดก็ได้
2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นแผ่นโลหะกลมเคลือบด้วยแถบแม่เหล็กหลายแผ่นซ้อนกัน สามารถเก็บข้อมูลได้มากว่าแผ่นดิสก์หลายเท่า นิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป แต่ฮาร์ดิสก์มักติดตั้งถาวรอยู่ในเครื่องไม่นิยมพกพา
3. แผ่นซีดี หรือคอมแพ็คดิสก์ (Compact Disk) เป็นแผ่นพาสติกกลมเคลือกด้วยสารสะท้อนแสง เก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ข้อดีคือสามารถพกพาแผ่นซีดีบรรจุข้อมูลไปใช้ที่ใหนก็ได้ สามารถเก็บข้อมูลประเภทภาพและเสียงได้มาก นิยมนำมาบันทึกข้อมูลประเภทสารนุกรม หรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
หน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำภายใน ทำหน้าที่เก็บคำสั่งและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อรอให้หน่วยประมวลผลกลางเรียกใช้ประมวลผล และเป็นที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล แบ่งได้เป็น
1. แรม (RAM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลสำหรับการใช้งานทั่วไปหน่วยความจำประเภทนี้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่าที่ยังมีกระแสไฟฟ้าจ่ายวรจร ถ้าขาดกระแสไฟฟ้าข้อมูลจะสูญหายทันที
2. รอม (ROM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บโปรแกรมสำคัญซึ่งได้ถูกบันทึกมาก่อนจากบริษัทผลิต ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลแบบถาวร แม้จะเปิดเครื่องหรือขาดกระแสไฟฟ้า ข้อมูลหรือโปรแกรมก็ไม่สูญหายหรือถูกลบไป
หน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำภายใน ทำหน้าที่เก็บคำสั่งและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อรอให้หน่วยประมวลผลกลางเรียกใช้ประมวลผล และเป็นที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล แบ่งได้เป็น
1. แรม (RAM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลสำหรับการใช้งานทั่วไปหน่วยความจำประเภทนี้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่าที่ยังมีกระแสไฟฟ้าจ่ายวรจร ถ้าขาดกระแสไฟฟ้าข้อมูลจะสูญหายทันที
2. รอม (ROM) เป็นหน่วยความจำที่เก็บโปรแกรมสำคัญซึ่งได้ถูกบันทึกมาก่อนจากบริษัทผลิต ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลแบบถาวร แม้จะเปิดเครื่องหรือขาดกระแสไฟฟ้า ข้อมูลหรือโปรแกรมก็ไม่สูญหายหรือถูกลบไป
ไมโครโปรเซสเซอร์
หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ
.หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบให้มีความถูกต้อง
.หน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล
วันศุกร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557
หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)